รมว.กระทรวงสาธารณสุข แถลงข่าวและตรวจเยี่ยมการฉีดวัคซีนโควิด -19 HXP – GPOvac สำหรับโครงการวิจัยทางคลินิกระยะที่ 3
วันที่ 23 ธ.ค.65 ที่ศาลายงใจยุทธ ศาลากลางจังหวัดนครพนม อ.เมือง จ.นครพนม นายอนุทิน ชาญวีรกุล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานในการแถลงข่าวและตรวจเยี่ยมการฉีดวัคซีนโควิด -19 เอชเอ็กซ์พี – จีโอแวค (HXP – GPOvac) สำหรับโครงการวิจัยทางคลินิกระยะที่ 3
นายวันชัย จันทร์พร ผวจ.นครพนม เป็นผู้กล่าวต้อนรับคณะผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข องค์การเภสัชกรรม ผู้ร่วมแถลงข่าว โดยนายอนุทิน ชาญวีรกุล รองนายกรัฐมนตรีฯ นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์ระจิต คณะที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และประธานกรรมการองค์การเภสัชกรรม นายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นายแพทย์นคร เปรมศรี ผอ.สถาบันวัคซีนแห่งชาติ นายแพทย์วิฑูรย์ ด่านวิบูลย์ ผอ.องค์การเภสัชกรรม
องค์การเภสัชกรรมเดินหน้า ทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ของวัคซีนเอชเอ็กซ์พี-จีพีโอแวค (HXP-GPOVac) ขนาด 10 ไมโกรกรัม ในรูปแบบเข็มกระตุ้น เพื่อประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของเกสัชกรรมเดินหน้า ทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ของวัควัคซีนเอชเอ็กซ์พี-อีพีโอแวควิด-1 ที่พัฒนาขึ้นในการใช้เป็นวัคซีนเข็มกระตุ้น ภายหลังจากการทดลองทางคลินิกระยะความสำเร็จ
นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยชนิด NDV-HXP-S สำหรับป้องกันโรคโควิด-19 ที่พัฒนาขึ้นโดยองค์การเภสัชกรรม (HXP-GPOVac) ขณะนี้ได้เข้าสู่การทลลองทางคลินิกระยะที่ 3 แล้ว เพื่อประเมินการใช้เป็นวัคซึนเข็มกระตุ้น ที่โรงพยาบาลนครพนม จังหวัดนครพนม ในวันที่ 23 ธันวาคม 2563 โดยการศึกษาครั้งนี้จะมีการทดสอบในอาสาสมัคร อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 4,000 คน ที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันใควิด-1 เข็มหลักมาแล้วจำนวน 2 เข็ม
รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวเพิ่มเติมว่า ตั้งแต่เกิดการระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ 2019 องค์การเภสัชกรรมได้มีการปรับแพลดฟอร์มการผลิตวัคชีนจากไข่ไก่ฟักเพื่อให้มีสำหรับรองรับการผลิตวัคซีนป้องกันโควิด-19 ในระดับอุตสาหกรรม โดยโครงการวัคซีนนี้เป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน PATH, Icahn School of Medicine at Mount Sinai (Icahn Mount Sinai) ยอร์ค, University of Texas at Austin (UT Austin) ประเทศสหรัฐอเมริกา และโรงงานผู้ผลิตวัคซีนใน 3 ประเทศ คือ บราชิล เวียดนาม และไทย
วัคซีนต้นแบบดังกล่าว มีการพัฒนามาจากนวัดกรรมการคัดต่อไวรัสนิวคาสเซิล (Newcavirus, NDV) ให้มีการแสดงออกของโปรตื่นหนามของ ไวรัสโคโรนาที่ได้ถูกปรับแต่งด้วยเทคโนโถยีเฮกซะ โปร (HexaPro) ให้มีความคงตัวมากขึ้น ซึ่งโปรตีนหนามนี้สามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันด้านโรคCOVID-19 ขึ้น เทคโนโลยีการผลิตวัคซึนชนิด NDV นี้ถูกพัฒนาขึ้นโดย Icahn Mount Sinai ในขณะที่ UT
Ausin เป็นผู้พัฒนาเทคโนโลยี HexaPro โดยทีมงานผู้พัฒนาโปรตีนหนามซึ่งถูกใช้เป็นพื้นฐานในวัคซึนโควิด-19 อย่างน้อย 4 ชนิดที่ใช้อยู่ทั่วโถกในปังจุบัน แถะองค์การเภสัชกรรมเป็นผู้ผลิตวัคซีนวิชัยโควิด-19 ชนิด HXP-จาก seed virus ที่ได้รับจากโรงเรียนแพทย์ที่เมาท์ไซนาย (Icahn Mount Sinai) โดยใช้เทคโนโลยีฟัก เช่นเดียวกับที่ใช้ในการผลิตวัคซึนไข้หวัดใหญ่ ที่โรงงานผลิต(วัคชีน) ชีววัตถุ ขององค์การเภสัชกรรม ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี จังหวัดสระบุรี
จากข้อมูลการทคลองทางคลินิกระยะที่ 1 ในปี พ.ศ. 2564 แถะระยะที่ 2 ในปี พ.ศ. 2564-2565 ว่าวัคซีนที่ผลิตโดยองค์การเภสัชกรรมนี้มีความปลอดภัยและสามารถกระดันภูมิคุ้มกันได้ดี และข้อมูลดังกล่าวได้นำมาใช้ในการคัดเลือกสูตรคำรับที่เหมาะสมสำหรับการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ต่อไป
นายเเพทย์วิฑูรย์ ด่านวิบูลย์ ผู้อำนวยการองค์การเภสัชกรรม กล่าวด้วยว่า หากผลการศึกษาในในระยะที่ 3 เป็นที่น่าพอใจ จะสามารถขึ้นขึ้นทะเบียนวัคซีนต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ในปี พ.ศ.2566 c]tสามารถกระจายวัคซีนสู่ผู้ใช้ได้หลังจากนั้น โดยองค์การเภสัชกรรมมีศักยภาพในการผลิตวัคซีนคังกล่าว ประมาณ 5-10 ล้านโคส และสามารถขยายกำลังการผลิดเพิ่มขึ้นได้ในอนาคต
“วัคซีนเอชเอ็กซ์พี-จีพีโอแวค HXP-GPOVac ขององค์การเภสัชกรรม เป็นวัคซีนที่มีศักยกาพในการใช้เป็นวัคซีนเข็มกระตุ้นที่ผลิตได้เองในประเทศไทย ซึ่งทำให้ประชาชนไทยสามารถเข้าถึงวัดซีนได้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะช่วยลดการะค่าใช้ง่ายในการนำเข้าวัดซีนจากต่างประเทศ และส่งเสริมให้เกิดความมั่นคงด้านวัคชื่นหากเกิดการระบาดในอนาคต ความสำเร็จของการวิจัยและพัฒนาวัคซีนนี้แสดงให้เห็นถึงการพึ่งพาตัวเองค้านวัคซีนของประเทศไทยอย่างยั่งยืนได้เป็นอย่างดี” ผู้อำนวยการองค์การเภสัชกรรม กล่าว